ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา
•อุปกรณ์ที่ใช้ในการเชื่อมต่อบนระบบเครือข่าย
•การทำงานของระบบ
Network
และ
Internet
อุปกรณ์ที่ใช้ในการเชื่อมต่อบนระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่ายยังต้องอาศัยอุปกรณ์ที่ต่อเชื่อม
และในบางครั้งก็ต้องค้นหาเส้นทางการขนส่งข้อมูลระหว่างโหนด และระหว่างส่วนต่างๆ
ของระบบเครือข่าย ซึ่งเชื่อมโยงกันเป็นระบบเครือข่ายขนาดใหญ่ขึ้น
อุปกรณ์ที่ใช้ในการเชื่อมต่อบนระบบเครือข่าย
ประกอบด้วย อุปกรณ์รวมสัญญาณ อุปกรณ์เชื่อมต่อเครือข่าย
อุปกรณ์ที่ใช้ในการเชื่อมต่อบนระบบเครือข่าย
1. อุปกรณ์รวมสัญญาณ
1.1 มัลติเพล็กซ์เซอร์ (Multiplexer) นิยมเรียก
กันว่า มัก (MUX)
เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการรวมข้อมูล
(multiplex)
จากเครื่องเทอร์มินัลจำนวนหนึ่งเข้า
ด้วยกัน
และส่งผ่านไปยังสายสื่อสารเดียวกัน และที่
ปลายทาง MUX อีกตัวจะทำหน้าที่แยกข้อมูล
(de-
multiplex)
ส่งไปยังจุดหมายที่ต้องการการรวมข้อมูล
(Mutiplexing)
อุปกรณ์ที่ใช้ในการเชื่อมต่อบนระบบเครือข่าย
1. อุปกรณ์รวมสัญญาณ
1.1 มัลติเพล็กซ์เซอร์ (Multiplexer) นิยมเรียก
กันว่า มัก (MUX)
เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการรวมข้อมูล
(multiplex)
จากเครื่องเทอร์มินัลจำนวนหนึ่งเข้า
ด้วยกัน
และส่งผ่านไปยังสายสื่อสารเดียวกัน และที่
ปลายทาง MUX อีกตัวจะทำหน้าที่แยกข้อมูล
(de-
multiplex)
ส่งไปยังจุดหมายที่ต้องการการรวมข้อมูล
(Mutiplexing)
อุปกรณ์ที่ใช้ในการเชื่อมต่อบนระบบเครือข่าย
การรวมข้อมูล
แบบmultiplex
เป็นวิธีการรวม
ข้อมูลจากหลายๆ
จุด แล้วส่งผ่านไปตามสายส่ง
เพียงสายเดียว
ซึ่งแบ่งได้เป็น 2
แบบคือ
1. การมัลติเพล็กซ์แบบแบ่งเวลา
(Time Division Multiplexer หรือ TDM)
2.การมัลติเพล็กซ์แบบแบ่งความถี่
(Frequency Division Multiplexer หรือ FDM)
2. คอนเซนเตรเตอร์ (Concentrator)
เรียกสั้นๆ ว่า คอนเซน
เป็นมัลติเพลกเซอร์ที่มี
ประสิทธิภาพสูงขึ้น คือ
-มีหน่วยความจำ (buffer) ที่ใช้เก็บข้อมูลเพื่อ
ส่งต่อได้ทำให้สามารถเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์ที่มี
ความเร็วสูงกับความเร็วต่ำได้
- มีการบีบอัดข้อมูล (compress) เพื่อให้สามารถ
ส่งข้อมูลได้มากขึ้น
3. ฮับ (Hub)
เป็นอุปกรณ์ที่เห็นได้อย่างเด่นชัดในระบบเครือข่าย
ที่ใช้โทโปโลยีแบบดาว
มีการใช้ฮับอย่างแพร่หลายใน
ระบบเครือข่าย2 ประเภท คือ 10BaseT Ethernet และ
Token Ring ซึ่งในระบบเครือข่ายแต่ละประเภท ฮับจะ
เป็นศูนย์กลางการเชื่อมต่อโหนดต่างๆ
และทำให้โหนด
เหล่านี้สามารถติดต่อสื่อสารกันได้
โดย ทำการติดตั้งฮับ
ไว้ที่ศูนย์กลางของโทโปโลยีแบบดาว
โหนดแต่ละโหนด
ที่เข้ามามีส่วนร่วมในระบบเครือข่ายจะเชื่อมต่อผ่านฮับ
และจะสื่อสารกันโดยส่งข้อมูลข่าวสารผ่านฮับ
อุปกรณ์เชื่อมต่อเครือข่าย
1.
รีพีตเตอร์ (Repeater)
2.
บริดจ์ (Bridge)
3.
สวิตซ์ (Switch)
4.
เราท์เตอร์ (Router)
5.
เกทเวย์ (Gateway)
โครงสร้างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
1.
เครือข่ายเฉพาะที่ (Local Area Network : LAN)
2.
เครือข่ายเมือง (Metropolitan Area Network :
MAN)
3.
เครือข่ายบริเวณกว้าง ( Wide Area Network :
WAN)
รูปแบบโครงสร้างของเครือข่าย (Network Topology)
ทั้ง 4
รูปแบบ
1. แบบดาว
เป็นแบบการต่อสายเชื่อมโยง โดยการนำสถานีต่างๆ มาต่อร่วมกันกับหน่วยสลับสายกลาง
การติดต่อสื่อสารระหว่างสถานีจะกระทำได้ด้วยการติดต่อผ่านทางวงจรของหน่วยสลับสายกลาง
การทำงานของหน่วยสลับสายกลางจึงคล้ายกับศูนย์กลางของการติดต่อวงจรเชื่อมโยงระหว่างสถานีต่าง
ๆ ที่ต้องการติดต่อกัน
2. แบบวงแหวน
เป็นแบบที่สถานีของเครือข่ายทุกสถานีจะต้องเชื่อมต่อกับเครื่องขยายสัญญาณของตัวเอง
โดยจะมีการเชื่อมโยงของสัญญาณของทุกสถานีเข้าด้วยกันเป็นวงแหวน
เครื่องขยายสัญญาณเหล่านี้จะมีหน้าที่ในการรับข้อมูลจากเครื่องคอมพิวเตอร์ของตัวเองหรือจากเครื่องขยายสัญญาณตัวก่อนหน้าและส่งข้อมูลต่อไปยังเครื่องขยายสัญญาณตัวถัดไปเรื่อย
ๆ เป็นวง หากข้อมูลที่ส่งเป็นของสถานีใด
เครื่องขยายสัญญาณของสถานีนั้นก็รับและส่งให้กับสถานีนั้น
เครื่องขยายสัญญาณจึงต้องมีการตรวจสอบข้อมูลที่ได้รับว่าเป็นของตนเองหรือไม่ด้วย
ถ้าใช่ก็รับไว้ ถ้าไม่ใช่ก็ส่งต่อไป
3. เครือข่ายแบบบัส
(Bus
Network)
เป็นเครือข่ายที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่าง
ๆ ด้วยสายเคเบิ้ลยาว ต่อเนื่องไปเรื่อย ๆ
โดยจะมีอุปกรณ์ที่เป็นตัวเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เข้ากับสายเคเบิ้ล
ในการส่งข้อมูล
จะมีคอมพิวเตอร์เพียงตัวเดียวเท่านั้นที่สามารถส่งข้อมูลได้ในช่วงเวลาหนึ่งๆ
การจัดส่งข้อมูลวิธีนี้จะต้องกำหนดวิธีการ ที่จะไม่ให้ทุกสถานีส่งข้อมูลพร้อมกัน
เพราะจะทำให้ข้อมูลชนกัน วิธีการที่ใช้อาจแบ่งเวลาหรือให้แต่ละสถานีใช้ความถี่
สัญญาณที่แตกต่างกัน ในการติดตั้งเครือข่ายแบบบัสนี้
คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์แต่ละชนิด ถูกเชื่อมต่อด้วยสายเคเบิ้ลเพียงเส้นเดียว
ซึ่งจะใช้ในเครือข่ายขนาดเล็ก ในองค์กรที่มีคอมพิวเตอร์ใช้ไม่มากนัก
4. แบบต้นไม้
(Tree Network)
เป็นเครือข่ายที่มีการผสมผสานโครงสร้างเครือข่ายแบบต่างๆเข้าด้วยกันเป็นเครือข่ายขนาดใหญ่ การจัดส่งข้อมูลสามารถส่งไปถึงได้ทุกสถานี
การสื่อสารข้อมูลจะผ่านตัวกลางไปยังสถานอื่น ๆ ได้ทั้งหมด
เพราะทุกสถานีจะอยู่บนทางเชื่อม รับส่งข้อมูลเดียวกัน
การประยุกต์ใช้งานของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายแบ่งตามลักษณะการทำงาน
ได้เป็น
3
ประเภทคือ
1.ระบบเครือข่ายแบบรวมศูนย์กลาง (Centrallized Networks)
2.
ระบบเครือข่ายแบบ Peer-to Peer
3.
ระบบเครือข่ายแบบ Client/Server
ระบบการส่งข้อมูล
•เป็นการส่งสัญญาณออกจากเครื่องและรับสัญญาณเข้าไปในเครื่อง
การถ่ายโอนข้อมูลสามารถจัดจำแนกได้ 2 แบบ
คือ
1.การถ่ายโอนข้อมูลแบบขนาน
2.การถ่ายโอนข้อมูลแบบอนุกรม
ทิศทางการส่งข้อมูล แบ่งออกได้ดังนี้
1.ซิมเพล็กซ์
(Simplex
tranmission)
2.ฮาฟ-ดูเพล็กซ์
(Half -duplex transmission)
3.ฟูล-ดูเพล็กซ์ (Full -duplex transmission)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น